คุณจะแน่ใจได้อย่างไรว่า? ซอฟต์แวร์ป้องกันภัยที่คุณโหลดมาเป็นของจริง??
ภัยคุกคามเติบโตมากขึ้น มัลแวร์ต่างก็แข็งแกร่ง ทำให้ยูสเซอร์ทั้งหลายต่างต้องเตรียมตัวรับมือและหาซอฟต์แวร์และบริการความปลอดภัยดีๆ มาใช้งานนั่นเอง
เยี่ยม ! เครื่องมือ “ถอดรหัส” Ransomware รวบรวมไว้ที่นี่แล้ว เกือบๆ 50 ชนิด !
Ransomware คือภัยอันตรายสำหรับทุกคน มันจะเข้ารหัสไฟล์ของเหยื่อพร้อมให้โอนเงินเพื่อปลดล็อกไฟล์ดังกล่าว ซึ่งก็ไม่แน่ว่าจะปลดล็อกได้หมดด้วยหรือไม่?
ยิ่งปัจจุบัน Ransomware มาในหลายสายพันธุ์ และจะทำงานได้ดีมากกับเครื่องที่ไม่ได้รับการป้องกัน อาจจะผ่านทางฟิชชิ่งเมล์ เป็นต้น และเมื่อเหยื่อลองคลิกอีเมล์นั้น ก็เท่ากับเป็นการติดเชื้อเสียแล้ว ราคาค่าไถ่ก็แพงอยู่คิดเป็นเงินมากมาย และมีการคาดคะเนกันว่าต้นทุนในการจ่ายค่าไถ่กับไฟล์ Ransomware นั้นมีราวๆ 1 พันล้านเหรียญต่อปี
โครงการ No More Ransam นั้นคือโปรเจ็กต์ที่ทางตำรวจในหน่วย National High Tech...
Kaspersky เปิดตัวเครื่องมือถอดรหัส Ransomware สายพันธุ์ Polyglot ได้แล้ว !
Kaspersky เปิดตัวเครื่องมือถอดรหัสแรนซั่มแวร์ที่ชื่อว่า Polyglot เพื่อช่วยเหยื่อในการกู้คืนไฟล์โดยไม่ต้องจ่ายค่าไถ่ได้แล้ว โดยเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมาทางบริษัทได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ (ZIP)ซึ่งออกแบบมาสำหรับจัดการกับโทรจัน Polyglot ซึ่งรู้จักกันนามแรนซั่มแวร์ที่ชื่อว่า MarsJoke ที่มันเป็นภัยโจมตีในกลุ่มเป้าหมายหน่วยงานรัฐอย่างหนักในช่วงที่ผ่านมา
ไปดูทัศนะของ แคสเปอร์สกี้ กับปัญหา 3 ประการ ทีทำให้เกิดการแฮ็กระบบรถยนต์ในปัจจุบัน
จากข่าวเกี่ยวกับการแฮ็กรถ Volkswagens ที่เผยแพร่ออกไปนั้น ทางกองบรรณาธิการ Enterprise ITPro ก็ได้รับข้อมูลอันเป็นประโยชน์จากทางผู้เชี่ยวชาญของ แคสเปอร์สกี้ แลป โดยคุณเซอร์เกย์ ซอริน ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านระบบความปลอดภัย แคสเปอร์สกี้ แลป ได้นำเสนอเรื่องราวเพิ่มเติมกรณีดังกล่าว ซึ่งเราเอามาลงไว้ดังนี้
ใครเจาะระบบ Kaspersky ได้ รับเลย 50,000 ดอลลาร์ ! กับโครงการ Bug Bounty
Kaspersky ประกาศเปิดโครงการ Bug Bounty Program โดยร่วมกับ HackerOne โดยเริ่มต้นเฟสแรกวันนี้ ซึ่งในช่วงเฟสแรกคือประมาณ 6 เดือน บริษัทด้านความปลอดภัยรายนี้จะมอบเงินรางวัลประมาณ 50,000 ดอลลาร์ ให้แก่พวกนักวิเคราะห์ด้านความปลอดภัยที่สามารถเจาะตัวผลิตภัณฑ์ Kaspersky Internet Security and Kaspersky Endpoint Security products ได้
ชาร์จมือถือมั่วๆ อาจโดน “มัลแวร์” ไม่รู้ตัว
สมาร์ทโฟนอาจเสี่ยงเป็นเหยื่อได้ดื้อๆ เมื่อชาร์จเติมพลัง เมื่อใช้การเชื่อมต่อยูเอสบีมาตรฐานต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ ผู้เชี่ยวชาญแคสเปอร์สกี้ แลป ได้ทดสอบสมาร์ทโฟนจำนวนหนึ่งที่ใช้แอนดรอยด์และ iOS ในเวอร์ชั่นต่างๆ เพื่อที่จะได้เข้าใจว่าข้อมูลอะไรกันที่อุปกรณ์โอนถ่ายกับภายนอก ขณะที่ต่อเชื่อมกับเครื่องพีซี หรือเครื่องแมคตอนที่ชาร์จไฟ