Security

หน้าแรก Security

พบมัลแวร์ล่องหนตัวใหม่! ที่แอนติไวรัสไม่สามารถตรวจพบได้

ทุกครั้งที่ซอฟต์แวร์แอนติไวรัสตรวจจับและจำกัดบริเวณมัลแวร์ตัวใหม่ได้นั้น ถือเป็นความสำเร็จของทั้งนักพัฒนา บริษัท และผู้ใช้ปลายทาง จึงทำให้บริษัททั้งหลายต่างพยายามอัพเกรดแอนติไวรัสของตัวเองอย่างต่อเนื่อง

ตรวจพบช่องโหว่ “ร้ายแรง” ในเราเตอร์เกมมิ่ง TP-Link Archer C5400X

นักวิเคราะห์จาก OneKey ได้มีการตรวยพบว่าเราเตอร์สำหรับเล่นเกม TP-Link Archer C5400X มีช่องโหว่ด้านความปลอดภัยที่อาจอนุญาตให้ผู้โจมตีจากระยะไกลที่ไม่ได้รับการรับรองสามารถรันคำสั่งบนอุปกรณ์ได้

ไมโครซอฟท์และ Cisco Talos พบมัลแวร์สายพันธุ์ใหม่ Nodersok

นักวิจัยด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์จากทั้งไมโครซอฟท์และ Cisco Talos ต่างพบมัลแวร์สายพันธุ์ใหม่ที่ถูกเรียกชื่อว่า Nodersok (หรือ Divergent) ซึ่งมัลแวร์นี้ถูกรายงานการนำไปใช้โจมตีเครือข่ายองค์กรต่างๆ และสามารถไปใช้โจมตีแบบหลอกให้คลิก (Click-Fraud) ได้

ไมโครซอฟท์ออกแพทช์ฉุกเฉินสำหรับวินโดวส์ 8.1 และเซิร์ฟเวอร์ 2012 R2

ไมโครซอฟท์ได้ออกตัวอัพเดทฉุกเฉินสำหรับทั้ง Windows 8.1, Windows RT 8.1, และ Windows Server 2012 R2 เพื่อรีบแพทช์ช่องโหว่ด้านความปลอดภัย 2 รายการที่ถูกค้นพบเมื่อไม่นานมานี้ ภายใต้รหัส CVE-2020-1530 และ CVE-2020-1537

พบช่องโหว่เป็นสิบในระบบจัดการเครือข่ายอุตสาหกรรมของ Siemens

นักวิจัยด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ได้ออกมาเผยการค้นพบช่องโหว่ 15 รายการบนระบบจัดการเครือข่ายหรือ NMS ที่ชื่อ SINEC ของ Siemens ที่สามารถเอามาใช้เป็นส่วนหนึ่งของเชนการโจมตีที่รันโค้ดจากระยะไกล (RCE) บนระบบต่างๆ ที่ได้รับผลกระทบต่อได้

พบขบวนการแฮ็กเกอร์กำลังหันมาเจาะช่องโหว่ “Follina” ของไมโครซอฟท์ทั้งในยุโรปและสหรัฐฯ

อาชญากรไซเบอร์ที่สงสัยว่าได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาล กำลังจ้องเล่นงานช่องโหว่ใหม่อย่าง "Follina" บนไมโครซอฟท์ออฟฟิศ โดยมุ่งเน้นจัดการกับเหยื่อที่เป็นหน่วยงานภาครัฐเป็นหลัก ทั้งในภูมิภาคยุโรปและสหรัฐฯ

ไมโครซอฟท์ระบุ “มันยากไป” ที่พวกเราจะล้มล้างขบวนการแรนซั่มแวร์ให้เกลี้ยง

ผู้บริหารระดับสูงด้านความปลอดภัยของไมโครซอฟท์ออกมากล่าวว่า ความพยายามของหน่วยงานภาครัฐทั้งหลายที่พยายามไล่จับไล่ปราบปรามแก๊งแรนซั่มแวร์ทั้งหลายนั้น ยังไม่เพียงพอที่จะสามารถสกัดกั้นภัยมืดที่มาแรงนี้ได้จริง

[บทสัมภาษณ์] พูดคุยกับ “ฉัตรกุล” แม่ทัพใหญ่แห่ง FORCEPOINT ในตลาดเมืองไทย

วันนี้ทาง Enterprise ITPro ได้มีโอกาสพูดคุยกับคุณฉัตรกุล โสภณางกูร ผู้จัดการฝ่ายขายประจำประเทศไทย บริษัท ฟอร์ซพอยต์ จำกัด เกี่ยวกับประเด็นต่างๆ ที่น่าสนใจในแวดวง Security ที่เกิดขึ้นในยุคนี้

มัลแวร์ Faketoken โจมตีผู้ใช้แอพบริการเรียกรถแท็กซี่

นักวิจัยแคสเปอร์สกี้ แลป ค้นพบโมบายแบงกิ้งโทรจัน Faketoken ในฉบับที่ได้รับการปรับแต่ง พัฒนาต่อยอดมาจนกระทั่งสามารถขโมยข้อมูลสำคัญจากแอพพลิเคชั่นเรียกรถแท็กซี่

ปล้นบิทคอยน์สกุล Ethereum มูลค่ากว่า 7 ล้านดอลลาร์ได้ภายใน 3 นาที

กลเสกเงินนี้เกิดขึ้นหลังจากมีโปรเจกต์บล็อกเชนแบบสตาร์ทอัพของอิสราเอลที่ชื่อ CoinDash สำหรับแลกเปลี่ยนเงินบิทสกุล Ether นี้ โดยเปิดฟีเจอร์ Initial Coin Offering (ICO) ที่ให้ผู้ลงทุนจ่ายเงินในหน่วย Ethereum แล้วจะจัดส่งผลตอบแทนในรูป Token กลับไปยังที่อยู่บิทคอยน์ของผู้ลงทุน





View My Stats

เรื่องราวอื่นๆ ที่น่าสนใจ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า