Quantum Computing

หน้าแรก Quantum Computing

ยักษ์ใหญ่สัญชาติจีน “ไป่ตู้” เปิดตัวคอมพิวเตอร์ควอนตัมเครื่องแรกของตัวเอง

เมื่อวันพฤหัสที่ผ่านมา "ไป่ตู้" (Baidu) ได้เผยโฉมคอมพิวเตอร์ควอนตัมเหนี่ยวนำสูง (Superconducting Quantum) เครื่องแรกของตัวเอง ที่มาพร้อมกันแบบครบเซ็ตทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และแอพพลิเคชัน ใช้ชื่อว่า “Qian Shi”

IBM ยกระดับฟังก์ชั่นเข้ารหัสควอนตัมสำหรับเมนเฟรม z16

แม้หลายคนมองว่าน่าจะอีกหลายปีถึงจะได้เห็น แต่ล่าสุด IBM ก็ได้เพิ่มระบบป้องกันการโจมตีด้านควอนตัมที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตเข้ามาแล้ว ด้วยเมนเฟรมตัวใหม่ z16 ที่มีการพัฒนาให้รับมือกับอันตรายที่เกี่ยวกับควอนตัมโดยเฉพาะ โดยรองรับอแดปเตอร์ Crypto Express8S เพื่อใช้ API ที่ Quantum-Safe

IBM z16 เมนเฟรมสำหรับ AI, ไฮบริดคลาวด์, งานด้านความปลอดภัย, และโอเพ่นซอร์ส

เมื่อต้นสัปดาห์ที่ผ่านมา IBM ได้เปิดตัวเมนเฟรมใหม่ล่าสุด z16 ที่โฆษณาว่าตอบโจทย์ความต้องการขององค์กรได้ทั้งงาน AI, ด้านความปลอดภัย, การทำไฮบริดคลาวด์, และโอเพ่นซอร์ส ทรงพลัง อุดมด้วยฟีเจอร์มากมายเพื่อรองรับอนาคต

พลังแห่งข้อมูล คือ พลังที่ทรงอำนาจ เสริมศักยภาพการแข่งขันในทุกธุรกิจ

บริษัท เอมายด์ กรุ๊ป พร้อมให้บริการด้วยโซลูชันจาก IBM เพื่อแก้ปัญหาในภาคการจัดการประสิทธิภาพทางการเงิน ซึ่งเต็มไปด้วยฟังก์ชั่นความสามารถทางด้านการวางแผนและวิเคราะห์ข้อมูล

IBM เปิดตัวชิปควอนตัม “Eagle” ระดับ 127 คิวบิต พร้อมแง้ม! Quantum System Two ด้วย

IBM ประกาศเปิดตัวชิปประมวลผลระดับ 127-qubit ตัวใหม่ชื่อ Eagle พร้อมกับพรีวิวดีไซน์ของระบบควอนตัมยุคใหม่ของตัวเองอย่าง IBM Quantum System Two ในงานประชุมสุดยอด IBM Quantum Summit

Nvidia เผยโฉม NVIDIA Quantum-2 แพลตฟอร์มเครือข่ายระดับ 400Gbps

NVIDIA ได้ประกาศเปิดตัว NVIDIA Quantum-2 แพลตฟอร์มเครือข่าย InfiniBand รุ่นใหม่ ที่ให้ประสิทธิภาพมากถึงขีดสุด เข้าถึงได้หลากหลาย และมีการรักษาความปลอดภัยที่แข็งแกร่ง ตอบโจทย์ผู้ให้บริการคลาวด์และศูนย์ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้เป็นอย่างดี

ผู้ผลิตจีนอ้างว่าได้สร้าง “Zuchongzhi” คอมพิวเตอร์ควอนตัมที่เร็วที่สุดในโลก

ทางสำนักข่าว ZME Science รายงานว่า คอมพิวเตอร์ควอนตัมเครื่องนี้ชื่อ Zuchongzhi เป็นแบบ 66-qubit ซึ่งถ้าเทียบกับเครื่องเด่นๆ ในโลกตอนนี้อย่างเช่นชิป Sycamore ของกูเกิ้ลก็เป็นแบบ 53 qubit ขณะที่ชิป Q System One ของ IBM มีแค่ 20 qubit

นักวิจัยชี้ว่าคอมพิวเตอร์ควอนตัม ทำความเข้าใจด้วยหลักเหตุผลได้

ทีมนักวิทยาศาสตร์จากศูนย์พัฒนาซอฟต์แวร์ควอนตัมของอังกฤษอย่าง Cambridge Quantum Computing (CQC) ออกมาระบุว่า คอมพิวเตอร์ควอนตัมสามารถเรียนรู้ที่จะใช้เหตุผลได้ แม้จะโดนจำกัดด้วยข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์และไม่มีความแน่นอน

IBM เปิดตัว ใบเซอร์ฯ สำหรับ “การประมวลผลควอนตัม” เป็นครั้งแรก

นักพัฒนาทั้งหลายสามารถได้การรับรองความรู้ด้านควอนตัมอย่างเป็นทางการแล้ว โดยทาง IBM ได้เปิดตัวใบเซอร์สำหรับนักพัฒนาด้านการประมวลผลควอนตัมที่ใช้คำถาม 60 ข้อ ที่ถ้าผู้ทดสอบสอบผ่านก็จะได้การรับรองว่ามีทักษะที่จำเป็นสำหรับพัฒนาและรันโปรแกรมควอนตัมได้

เส้นทางสู่การเป็นนักวิทยาศาสตร์ข้อมูล : บทความโดย ดร.ธนชาติ นุ่มนนท์ 

เคยมีบทความเมื่อหลายปีก่อนในนิตยสาร Harvard Business Review ที่ระบุว่าอาชีพนักวิทยาศาสตร์ข้อมูลคือตำแหน่งงานที่มีเสนห์ที่สุดในศตวรรษที่ 21 (Data Scientist: The Sexiest Job of the 21st Century) และจากข้อมูลความต้องการตำแหน่งงานจากแหล่งต่างๆได้ชี้ให้เห็นว่างานด้านนักวิทยาศาสตร์ข้อมูลเป็นที่ต้องการอยู่ในอันดับต้นๆของโลกและมีอัตราเงินเดือนค่อนข้างสูง แต่ก็หาบุคลากรที่มีทักษะทางนี้ได้ยาก





View My Stats

เรื่องราวอื่นๆ ที่น่าสนใจ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า